การออกแบบตารางคำนวณที่นำมาอธิบายนี้ น่าจะเป็นการจุดประกายความคิดให้ผู้ใช้ Excel สามารถสร้างสรรค์งานได้หลายหลายรูปแบบมากขึ้น ผมเชื่อว่าหลักการหรือแนวความคิดที่ได้ให้ไปแล้วนี้ย่อมเป็นสิ่งที่สำคัญมากกว่าตัวอย่างที่มีประโยชน์จำกัดแค่ใช้กับการแก้ไขปัญหาหนึ่งเสร็จแล้วก็แล้วกันไป ขอเพียงสามารถนำหลักการหรือแนวความคิดไปพัฒนาต่อ ย่อมเป็นแนวทางให้สามารถใช้ Excel แบบคอมพิวเตอร์ สามารถนำ Excel ไปประยุกต์ใช้กับงานที่หลายคนคิดว่าทำไม่ได้มาก่อน หาทางสร้างตารางคำนวณที่สะดวกต่อการนำมาใช้งานซ้ำแล้วซ้ำอีก ง่ายต่อการแก้ไข และที่สำคัญคือเป็นหลักการที่ง่ายต่อความเข้าใจ
ตัวอย่างที่ผ่านมาเป็นการกำหนดตำแหน่งอ้างอิงที่เชื่อมค่าจาก Module ที่วางไว้ด้านบนติดกัน เหมาะกับการคำนวณที่มีขั้นตอนต่อเนื่องกันไปแบบเส้นตรง แต่หากการวางแผนการผลิตต้องเกี่ยวข้องกับโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Bill of Materials : BOM) ในโครงสร้างที่ซับซ้อนตามภาพต่อไปนี้ ก็ต้องหาทางพัฒนาโครงสร้างตารางคำนวณแบบ Dynamic จากภาพแสดงถึงการผลิตสินค้า A…
Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/CompoundModule.xls ตัวอย่างนี้อยู่ในชีทชื่อ SimpleCompound เป็นตารางคำนวณหาระยะเวลาที่ใช้ในการผลิต กำหนดให้ผลิตสินค้า A, B, C, D (ProductName เซลล์ B4:B7) โดยสินค้าแต่ละชนิดต้องใช้เวลาในการผลิตต่างกันไป…
โครงสร้างตารางคำนวณแบบ Compound Module เกิดจากแนวความคิดที่จะใช้ตาราง Excel หลายๆเซลล์ต่อกันสำหรับการคำนวณที่ต่อเนื่องกันหลายๆขั้น พอเซลล์หนึ่งคำนวณขั้นหนึ่งเสร็จ ก็ให้ส่งค่าไปคำนวณต่อในอีกเซลล์หนึ่ง แล้วส่งค่าต่อๆกันไปยังเซลล์ที่อยู่ในพื้นที่ตารางคำนวณชุดเดียวกัน ซึ่งในตารางคำนวณชุดเดียวกันนี้อาจต้องใช้จำนวนเซลล์ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไปจนถึงนับร้อยนับพันเซลล์ก็เป็นได้เพื่อให้ไล่คำนวณตั้งแต่ต้นจนจบ แนวความคิดดังกล่าวนี้ฟังดูแล้วก็ไม่เห็นเป็นเรื่องแปลกใช่ไหม คุณเองก็ใช้ตาราง Excel…
เคยมีคำกล่าวว่า Excel ไม่สามารถนำมาใช้กับการวางแผนความต้องการวัสดุได้หรอก เราต้องหันไปซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปราคาแพงเป็นแสนเป็นล้านบาทมาใช้ในการวางแผนการผลิต ซึ่งโรงงานผลิตสินค้าหลายๆแห่งอาจคิดว่าไม่แพง เพราะเมื่อนำราคาโปรแกรมสำเร็จรูปไปเทียบกับมูลค่าของโรงงานและสินค้าที่ผลิตแล้วถือว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก แล้วเมื่อนำโปรแกรมสำเร็จรูปเหล่านี้มาใช้ กลับพบว่าไม่สามารถนำมาใช้กับการวางแผนการผลิตได้อย่างสมบูรณ์เสียอีก ครั้นจะขอให้ผู้ขายโปรแกรมสำเร็จรูปช่วยแก้ไขดัดแปลงโปรแกรมให้ใหม่ก็ถูกคิดค่าใช้จ่ายเป็นเงินอีกมากมาย ที่แย่ที่สุดก็คือ พอซื้อโปรแกรมมาใช้ได้สักพัก เจ้าตัวบริษัทที่ขายโปรแกรมให้กลับปิดตัวเลิกกิจการไปแล้ว เป็นเหตุให้โปรแกรมสำเร็จรูปที่ได้มาถูกนำมาใช้งานแค่ครึ่งๆกลางๆหรือถึงกับเลิกใช้ไปเลยก็มี คนที่เก่งคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเมอร์หรือผู้ที่คลุกคลีอยู่ในแวดวง IT…
แก้สูตร Indirect ในเซลล์ F3:F6 เป็นสูตร =Case1!F3, =Case1!F4, =Case1!F5, และ =Case1!F6 ตามลำดับเพื่อ link ข้อมูลมาจากชีทชื่อ Case1 ในตำแหน่งเซลล์เดียวกัน…
กรณีต้องการสร้างชีทหลายชีทให้มีหน้าตาแบบเดียวกันโดยการสร้างงานพร้อมกันเพียงครั้งเดียว ให้เริ่มจากกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับคลิกที่ Sheet Tab เพื่อเลือกชีทที่ต้องการ หรือหากต้องการเลือกทุกชีทที่ติดกัน ให้เริ่มจากอยู่ในชีทแรกแล้วกดปุ่ม Shift พร้อมกับคลิกเลือกชีทสุดท้าย ซึ่งจะพบคำว่า [Group] แสดงไว้ต่อท้ายชื่อแฟ้มที่ปรากฏอยู่ด้านบนสุดของหน้าจอ จากนั้นทุกอย่างที่คุณสร้างลงไปในชีทจะถูกสร้างพร้อมกันลงไปในชีททุกชีทที่เลือกไว้ใน…
(Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/singlemodule.xls) ตัวอย่างนี้ดัดแปลงมาจากตัวอย่างที่ใช้ในการอบรมหลักสูตรสุดยอดเคล็ดลับและลัดของ Excel จากเดิมซึ่งรวมตัวแปรของงบการเงินทั้งสาม case ไว้ติดกันในตารางเดียวกันในชีทเดียวกัน เปลี่ยนมาเป็นการแยกตัวแปรของแต่ละ case ไว้ในชีทต่างหากของมันเอง โปรดสังเกตว่านอกเหนือจากตำแหน่งของตารางในชีท Case1, Case2, และ…
ตารางคำนวณแบบ Single Module ในภาคนี้เป็นตารางคำนวณในกรณีที่แยกชีทหรือแยกแฟ้ม เพื่อใช้กับงานที่มีการคำนวณสลับซับซ้อนมากกว่าเดิม แทนที่จะมีตารางคำนวณเพียงตารางเดียวแล้วใช้ข้อมูลตัวแปรส่งค่าใหม่ไปคำนวณในตารางนั้นๆในชีทเดียวกัน คราวนี้ผมจะนำเสนอวิธีการสร้างตารางคำนวณพร้อมกันในหลายชีทหรือหลายแฟ้ม จากนั้นจึงเลือกนำผลการคำนวณจากชีทหรือแฟ้มที่ต้องการไปนำเสนอผลงานต่อไป ผู้ใช้ Excel ต้องคิดไว้เสมอว่า แม้วันนี้ข้อมูลที่เก็บไว้ยังคงมีไม่มากและสามารถใช้ชีทเดียวเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ด้วยกัน แต่ในอนาคตข้อมูลที่ต้องเก็บไว้จะต้องมีปริมาณของข้อมูลมากขึ้นไปเรื่อยๆ จากเดิมที่เคยเก็บไว้ในชีทเดียว จะกลายเป็นต้องเก็บไว้ในชีทหลายชีท…
ในกรณีที่การคำนวณมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นหรือมีจำนวนตัวแปรมากขึ้น คุณสามารถแยกตารางส่วนของการคำนวณผลลัพธ์ไปไว้ในชีทอื่นต่างหาก เพื่อทำให้สามารถจัดโครงสร้างตารางได้ยืดหยุ่นและแยกชีทเก็บข้อมูลให้แยกเป็นส่วนๆได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในตัวอย่างต่อไปเป็นการคำนวณทางสถิติของการวัด (Calibration) ก่อนอื่นขอเล่าที่ไปที่มาของตัวอย่างต่อไปนี้ก่อนว่า แต่เดิมทีนั้นแฟ้มมีขนาดใหญ่มากเพราะมีชีทนับร้อยชีท แต่ละชีทมีสูตรคำนวณทางสถิติยากๆยาวเหยียดหลายๆเซลล์ ทุกครั้งที่มีการผลิต ทางโรงงานต้องสุ่มสินค้าที่ผลิตได้ส่งมาตรวจสอบคุณภาพก่อน โดยวัดผลออกมาเป็นตัวเลขแล้วนำไปคำนวณทางสถิติว่าเป็นตัวเลขที่อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้หรือไม่ ทุกครั้งที่จะคำนวณ ก็ต้องเปิดชีทใหม่แล้ว copy ตารางคำนวณจากชีทเก่ามาแก้ตัวเลขตามการวัดที่เกิดขึ้นใหม่ ดังนั้นถ้าต้องคำนวณกันทุกวัน…
(Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/singlemodule.xls) ตัวอย่างนี้เป็นการคำนวณงบกำไรขาดทุนจากตัวอย่างประกอบการอบรมหลักสูตรสุดยอดเคล็ดลับและลัดของ Excel ซึ่งกำหนดให้มีตารางที่ต้องการคำนวณตามยอดขายและต้นทุนที่ต่างกันไปอยู่ 3 case แต่ละ case กำหนดให้แปรเปลี่ยนยอดขายและต้นทุนต่างกันไป ดังนั้นแทนที่จะต้องสร้างตารางคำนวณขึ้น 3 ตารางเพื่อแยกคำนวณแต่ละ case ขอให้ออกแบบตารางในชีทเดียวกันแบ่งเป็น…
ตารางคำนวณแบบ Single Module มีลักษณะตรงกับความหมายของคำว่า Single นั่นคือเป็นตารางคำนวณแบบตารางเดียวหรือตารางเดี่ยว ที่สามารถคำนวณให้ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ครบถ้วนภายในตารางคำนวณตารางเดียว ผู้ใช้ Excel ทั่วไปมักใช้ Excel กันแบบผิดๆ จากความง่ายของการใช้ตารางของ Excel เช่น…
ผู้ที่เคยใช้ Excel สร้างตารางคำนวณงบการเงินมาก่อน ต้องทราบดีว่ากว่าจะคำนวณหายอดกำไรขาดทุนมาได้ต้องคำนวณผ่านยอดรายรับหักต้นทุนขายเป็นกำไรขั้นต้น จากนั้นจึงนำยอดตัวเลขกำไรขั้นต้นไปหักด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆและภาษีเพื่อเป็นยอดกำไรขาดทุน ซึ่งลักษณะของการคำนวณงบการเงินนี่แหละคือลักษณะของตารางคำนวณแบบ Module ในงานด้านวางแผนการผลิตมีลักษณะการใช้ Excel แบบ Module เช่นกัน นับตั้งแต่รับคำสั่งซื้อแล้วต้องนำยอดไปเปรียบเทียบกับสินค้าคงคลังเพื่อคำนวณหายอดวัตถุดิบที่ต้องใช้ตามกำลังการผลิตที่มีอยู่ อีกทั้งต้องกำหนดเวลาให้กับตัวเลขการสั่งผลิตหรือจัดหาวัตถุดิบตามโครงสร้างผลิตภัณฑ์ให้ได้อีกว่า ต้องการใช้ในปริมาณเท่าใดและต้องเริ่มสั่งของเมื่อใดเพื่อให้สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการผลิตแล้วได้สินค้าสำเร็จรูปตามเวลาที่กำหนด…
ตารางคำนวณในภาคแรกเกิดจากการใช้สูตรที่มีโครงสร้างเดียวกันซ้ำในทุกเซลล์ของตารางคำนวณ โดยกำหนดให้หาทางสร้างสูตรขึ้นเพียงสูตรเดียวในเซลล์แรกตรงหัวมุมซ้ายบนสุดของตาราง แล้วจัดการ Copy สูตรไปใช้ทั้งตาราง และจากการที่ใช้สูตรที่มีโครงสร้างเดียวกันไปตลอดนี้ย่อมแสดงว่าเป็นสูตรที่คำนวณหาคำตอบในเรื่องเดียวกัน จากนั้นเราจึงใช้โครงสร้างของตารางเป็นตัวช่วยในการเลือกใช้คำตอบจากตำแหน่งของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับคำตอบ ซึ่งตารางคำนวณแบบแรกนี้ไม่เหมาะกับการคำนวณที่มีความสลับซับซ้อนมากนัก จากนี้จะนำโครงสร้างตารางคำนวณที่มีความซับซ้อนมากขึ้นมาให้ศึกษากันโดยขอเรียกตารางคำนวณแบบนี้ว่า ตารางคำนวณแบบ Module ซึ่งสามารถนำไปใช้งานกันได้ 2 แบบ คือ…
จากสูตร = MAX(0,MIN(F4,D4)-MAX(E4,C4)) ซึ่งใช้คำนวณหาระยะเวลาที่ใช้ในกะซึ่งได้อธิบายที่ไปที่มาของแต่ละส่วนในสูตรแล้วว่าเป็นอย่างไร จากนี้ขอให้คุณคิดต่อไปอีกว่าจะนำสูตรนี้ไปใช้ในการวางแผนโดยจำเป็นต้องนำสูตรนี้ไปใช้ร่วมกับตัวแปรอื่นๆ เช่น ช่วงเวลาของกะอื่นๆ ช่วงเวลาเข้างานในวันอื่นๆหรือเวลาเข้างานของลูกจ้างคนอื่น ตลอดจนหาทางคำนวณค่าแรงที่ต้องจ่ายออกเป็นตัวเงินนั้น ต้องออกแบบตารางคำนวณให้มีหน้าตาอย่างไรดี ตัวอย่างนี้ขอสมมติว่าในกำหนดเวลาทำงานแต่ละวัน ตั้งแต่ 6:00-24:00 น.นั้น ถูกแบ่งออกเป็น 8 กะ…
ทุกวันนี้คุณสามารถค้นหาสูตรคำนวณเพื่อหาคำตอบในปัญหาต่างๆได้โดยตรงจากอินเตอร์เน็ต หรือยกคำถามไปหารือในฟอรัมถามตอบปัญหา Excel ได้ไม่ยาก หลายๆครั้งทีเดียวที่จะได้รับคำตอบเป็นสูตรซ้อนกันยาวเหยียดเป็นหน้า จนอดทึ่งในความสามารถของคนที่สร้างสูตรเหล่านั้นไม่ได้ว่าเขาคิดสูตรกันมาได้อย่างไร หากจะไล่เรียงลำดับความเก่งเกี่ยวกับการใช้ Excel แล้ว การที่เก่งมีความสามารถสร้างสูตรยากๆยาวๆได้ ถือว่าเป็นความเก่งขั้นสูงที่มักเป็นความสามารถเฉพาะตัว ยากที่คนอื่นจะเลียนแบบหรือเข้าใจที่ไปที่มาของสูตรที่นำมาซ้อนกัน เพราะคนเก่งแต่ละคนมักเลือกใช้สูตรที่ตนถนัดแตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็ตาม ในเรื่องสูตรที่ตัวผมเองคิดขึ้นนั้น…
สมมติว่าลูกจ้างคนหนึ่งเข้างานตั้งแต่เวลา 7:00-9:00 น. ให้สร้างตารางคำนวณหาระยะเวลาที่เขาทำงานในกะที่กำหนดซึ่งเริ่มตั้งแต่เวลา 8:00-10:00 น. จากคำถามข้างต้นนี้ คุณคงคิดคำตอบในใจได้ว่าต้องทำงานในกะเป็นเวลา 1 ชั่วโมงใช่ไหม เพราะลูกจ้างคนนี้ออกจากงานเวลา 9:00 น. จึงนับระยะเวลาตั้งแต่เริ่มกะตอน 8:00 น.…
หลังจากที่ได้พิจารณาขอบเขตความต้องการและพอได้เห็นแนวทางสร้างงานที่คนอื่นใช้กันมาก่อนแล้วบ้าง คราวนี้ก็ถึงประเด็นสำคัญว่าพอเปิดโปรแกรม Excel ขึ้นมาแล้ว คุณจะเริ่มต้นออกแบบตารางกันอย่างไรดี ซึ่งลักษณะของตารางคำนวณนี่เองที่จะชี้ให้เห็นฝีไม้ลายมือว่าใครเยี่ยมยุทธ์กว่ากัน ถ้าเทียบกับการสร้างบ้านสักหลังหนึ่งแล้ว ข้อพิจารณาที่ผ่านไปเป็นเพียงแค่การออกแบบคร่าวๆและเตรียมซื้ออุปกรณ์ก่อสร้าง หิน ทราย ปูนซิเมนต์ เตรียมไว้ไม่ให้ขาดไม่ให้เกินกว่าความจำเป็น ขั้นจากนี้เป็นหน้าที่ของสถาปนิกและวิศวกรที่จะต้องลงมือก่อสร้างบ้านของจริงให้สวยหรู ดูดี อยู่สบาย…
สมมติว่าคุณกำลังหาทางคำนวณค่าแรงที่ต้องจ่ายให้ลูกจ้างทำงานในแต่ละกะ จะต้องคิดพิจารณาอะไรบ้าง กำหนดขอบเขตของความต้องการของคุณที่เป็นไปได้ว่ามีอะไรบ้าง เช่นต้องการใช้ตารางในชีทหนึ่งเพื่อคำนวณค่าแรงของพนักงานคนหนึ่งซึ่งทำงานในวันหนึ่ง หรือต้องการใช้ตารางในชีทหนึ่งเพื่อคำนวณค่าแรงของพนักงานคนหนึ่งซึ่งทำงานในเดือนหนึ่งโดยแสดงเป็นรายวันต่อเนื่องกันไป หรือต้องการคำนวณค่าแรงของพนักงานทุกคนในวันหนึ่งๆ หรือต้องการคำนวณค่าแรงให้กับพนักงานทุกคนในเดือนหนึ่งโดยแสดงเป็นรายวันต่อเนื่องกันไป หรือมีความต้องการอื่นๆอีกบ้างไหม ทั้งนี้เพื่อหาทางสร้างตารางคำนวณเพียงตารางเดียวแต่ต้องมีความยืดหยุ่นสามารถนำไปใช้คำนวณได้ทุกกรณีตามที่คุณต้องการ(ทั้งที่เคยต้องการในอดีตและอาจจะมีมากขึ้นในอนาคต) ค้นหาเงื่อนไขทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในการคำนวณ ซึ่งโดยทั่วไปผู้ที่คลุกคลีกับการบริหารการจ้างแรงงานย่อมต้องมีเงื่อนไขที่ตนนำไปใช้ในงานอยู่แล้ว เช่น เงื่อนไขเกี่ยวกับช่วงเวลาหรือกะที่กำหนดให้ทำงานในแต่ละวันแบ่งเป็นกี่ช่วง แต่ละช่วงใช้เวลาทำงานมากน้อยเพียงไร แบ่งเป็นช่วงเวลาหยุดพักกี่ครั้ง…
เพื่อทำให้เข้าใจตรงกัน จึงขอให้คำจำกัดความในความหมายของตารางคำนวณก่อนว่า ตารางคำนวณในบทความนี้มิได้หมายถึงพื้นที่ตารางว่างๆที่คุณจะเห็นทันทีบนจอเมื่อเปิดโปรแกรม Excel ขึ้นมาใช้งาน แต่ตารางคำนวณในที่นี้มีความหมายถึงตารางซึ่งคุณสร้างขึ้นมาเองโดยมีข้อมูลบันทึกไว้แล้ว อาจเป็นข้อมูลตัวเลข ตัวอักษร หรือสูตรใดๆก็ได้ ทั้งนี้มีเจตนาเพื่อใช้พื้นที่เซลล์หรือตารางนั้นในการคำนวณหาคำตอบที่คุณต้องการโดยเฉพาะ เช่น ตารางคำนวณค่าแรงที่ต้องจ่ายให้ลูกจ้างทำงานในแต่ละกะ ตารางคำนวณยอดต้นทุนขายแบบ Fist-in First-out ตารางคำนวณหาจำนวนสินค้าที่ต้องวางแผนสั่งผลิต…
ในโปรแกรม Microsoft Excel มีองค์ประกอบอยู่สองอย่างแทบไม่เปลี่ยนแปลงเลยในหลายยุคหลายสมัยที่ผ่านไป ไม่ว่าจะเป็น Excel รุ่นใดก็ตามยังคงมีสิ่งนี้ใช้กันเรื่อยมา สิ่งที่ว่านี้ก็คือ ตารางที่ประกอบด้วยเซลล์มีหลาย row หลาย column และสูตรสำเร็จรูปอีกหลายร้อยสูตรติดมาพร้อมกับตัวโปรแกรม ซึ่งผู้ใดสามารถนำตารางและสูตรมาใช้ร่วมกันได้เป็นอย่างดี จะทำให้ใช้โปรแกรม…
การออกแบบตารางคำนวณที่นำมาอธิบายนี้ น่าจะเป็นการจุดประกายความคิดให้ผู้ใช้ Excel สามารถสร้างสรรค์งานได้หลายหลายรูปแบบมากขึ้น ผมเชื่อว่าหลักการหรือแนวความคิดที่ได้ให้ไปแล้วนี้ย่อมเป็นสิ่งที่สำคัญมากกว่าตัวอย่างที่มีประโยชน์จำกัดแค่ใช้กับการแก้ไขปัญหาหนึ่งเสร็จแล้วก็แล้วกันไป ขอเพียงสามารถนำหลักการหรือแนวความคิดไปพัฒนาต่อ ย่อมเป็นแนวทางให้สามารถใช้ Excel แบบคอมพิวเตอร์ สามารถนำ Excel ไปประยุกต์ใช้กับงานที่หลายคนคิดว่าทำไม่ได้มาก่อน หาทางสร้างตารางคำนวณที่สะดวกต่อการนำมาใช้งานซ้ำแล้วซ้ำอีก ง่ายต่อการแก้ไข และที่สำคัญคือเป็นหลักการที่ง่ายต่อความเข้าใจ
ตัวอย่างที่ผ่านมาเป็นการกำหนดตำแหน่งอ้างอิงที่เชื่อมค่าจาก Module ที่วางไว้ด้านบนติดกัน เหมาะกับการคำนวณที่มีขั้นตอนต่อเนื่องกันไปแบบเส้นตรง แต่หากการวางแผนการผลิตต้องเกี่ยวข้องกับโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Bill of Materials : BOM) ในโครงสร้างที่ซับซ้อนตามภาพต่อไปนี้ ก็ต้องหาทางพัฒนาโครงสร้างตารางคำนวณแบบ Dynamic จากภาพแสดงถึงการผลิตสินค้า A…
Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/CompoundModule.xls ตัวอย่างนี้อยู่ในชีทชื่อ SimpleCompound เป็นตารางคำนวณหาระยะเวลาที่ใช้ในการผลิต กำหนดให้ผลิตสินค้า A, B, C, D (ProductName เซลล์ B4:B7) โดยสินค้าแต่ละชนิดต้องใช้เวลาในการผลิตต่างกันไป…
โครงสร้างตารางคำนวณแบบ Compound Module เกิดจากแนวความคิดที่จะใช้ตาราง Excel หลายๆเซลล์ต่อกันสำหรับการคำนวณที่ต่อเนื่องกันหลายๆขั้น พอเซลล์หนึ่งคำนวณขั้นหนึ่งเสร็จ ก็ให้ส่งค่าไปคำนวณต่อในอีกเซลล์หนึ่ง แล้วส่งค่าต่อๆกันไปยังเซลล์ที่อยู่ในพื้นที่ตารางคำนวณชุดเดียวกัน ซึ่งในตารางคำนวณชุดเดียวกันนี้อาจต้องใช้จำนวนเซลล์ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไปจนถึงนับร้อยนับพันเซลล์ก็เป็นได้เพื่อให้ไล่คำนวณตั้งแต่ต้นจนจบ แนวความคิดดังกล่าวนี้ฟังดูแล้วก็ไม่เห็นเป็นเรื่องแปลกใช่ไหม คุณเองก็ใช้ตาราง Excel…
เคยมีคำกล่าวว่า Excel ไม่สามารถนำมาใช้กับการวางแผนความต้องการวัสดุได้หรอก เราต้องหันไปซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปราคาแพงเป็นแสนเป็นล้านบาทมาใช้ในการวางแผนการผลิต ซึ่งโรงงานผลิตสินค้าหลายๆแห่งอาจคิดว่าไม่แพง เพราะเมื่อนำราคาโปรแกรมสำเร็จรูปไปเทียบกับมูลค่าของโรงงานและสินค้าที่ผลิตแล้วถือว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก แล้วเมื่อนำโปรแกรมสำเร็จรูปเหล่านี้มาใช้ กลับพบว่าไม่สามารถนำมาใช้กับการวางแผนการผลิตได้อย่างสมบูรณ์เสียอีก ครั้นจะขอให้ผู้ขายโปรแกรมสำเร็จรูปช่วยแก้ไขดัดแปลงโปรแกรมให้ใหม่ก็ถูกคิดค่าใช้จ่ายเป็นเงินอีกมากมาย ที่แย่ที่สุดก็คือ พอซื้อโปรแกรมมาใช้ได้สักพัก เจ้าตัวบริษัทที่ขายโปรแกรมให้กลับปิดตัวเลิกกิจการไปแล้ว เป็นเหตุให้โปรแกรมสำเร็จรูปที่ได้มาถูกนำมาใช้งานแค่ครึ่งๆกลางๆหรือถึงกับเลิกใช้ไปเลยก็มี คนที่เก่งคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเมอร์หรือผู้ที่คลุกคลีอยู่ในแวดวง IT…
แก้สูตร Indirect ในเซลล์ F3:F6 เป็นสูตร =Case1!F3, =Case1!F4, =Case1!F5, และ =Case1!F6 ตามลำดับเพื่อ link ข้อมูลมาจากชีทชื่อ Case1 ในตำแหน่งเซลล์เดียวกัน…
กรณีต้องการสร้างชีทหลายชีทให้มีหน้าตาแบบเดียวกันโดยการสร้างงานพร้อมกันเพียงครั้งเดียว ให้เริ่มจากกดปุ่ม Ctrl พร้อมกับคลิกที่ Sheet Tab เพื่อเลือกชีทที่ต้องการ หรือหากต้องการเลือกทุกชีทที่ติดกัน ให้เริ่มจากอยู่ในชีทแรกแล้วกดปุ่ม Shift พร้อมกับคลิกเลือกชีทสุดท้าย ซึ่งจะพบคำว่า [Group] แสดงไว้ต่อท้ายชื่อแฟ้มที่ปรากฏอยู่ด้านบนสุดของหน้าจอ…
(Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/singlemodule.xls) ตัวอย่างนี้ดัดแปลงมาจากตัวอย่างที่ใช้ในการอบรมหลักสูตรสุดยอดเคล็ดลับและลัดของ Excel จากเดิมซึ่งรวมตัวแปรของงบการเงินทั้งสาม case ไว้ติดกันในตารางเดียวกันในชีทเดียวกัน เปลี่ยนมาเป็นการแยกตัวแปรของแต่ละ case ไว้ในชีทต่างหากของมันเอง โปรดสังเกตว่านอกเหนือจากตำแหน่งของตารางในชีท Case1, Case2, และ…
ตารางคำนวณแบบ Single Module ในภาคนี้เป็นตารางคำนวณในกรณีที่แยกชีทหรือแยกแฟ้ม เพื่อใช้กับงานที่มีการคำนวณสลับซับซ้อนมากกว่าเดิม แทนที่จะมีตารางคำนวณเพียงตารางเดียวแล้วใช้ข้อมูลตัวแปรส่งค่าใหม่ไปคำนวณในตารางนั้นๆในชีทเดียวกัน คราวนี้ผมจะนำเสนอวิธีการสร้างตารางคำนวณพร้อมกันในหลายชีทหรือหลายแฟ้ม จากนั้นจึงเลือกนำผลการคำนวณจากชีทหรือแฟ้มที่ต้องการไปนำเสนอผลงานต่อไป ผู้ใช้ Excel ต้องคิดไว้เสมอว่า แม้วันนี้ข้อมูลที่เก็บไว้ยังคงมีไม่มากและสามารถใช้ชีทเดียวเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ด้วยกัน แต่ในอนาคตข้อมูลที่ต้องเก็บไว้จะต้องมีปริมาณของข้อมูลมากขึ้นไปเรื่อยๆ จากเดิมที่เคยเก็บไว้ในชีทเดียว จะกลายเป็นต้องเก็บไว้ในชีทหลายชีท…
ในกรณีที่การคำนวณมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นหรือมีจำนวนตัวแปรมากขึ้น คุณสามารถแยกตารางส่วนของการคำนวณผลลัพธ์ไปไว้ในชีทอื่นต่างหาก เพื่อทำให้สามารถจัดโครงสร้างตารางได้ยืดหยุ่นและแยกชีทเก็บข้อมูลให้แยกเป็นส่วนๆได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในตัวอย่างต่อไปเป็นการคำนวณทางสถิติของการวัด (Calibration) ก่อนอื่นขอเล่าที่ไปที่มาของตัวอย่างต่อไปนี้ก่อนว่า แต่เดิมทีนั้นแฟ้มมีขนาดใหญ่มากเพราะมีชีทนับร้อยชีท แต่ละชีทมีสูตรคำนวณทางสถิติยากๆยาวเหยียดหลายๆเซลล์ ทุกครั้งที่มีการผลิต ทางโรงงานต้องสุ่มสินค้าที่ผลิตได้ส่งมาตรวจสอบคุณภาพก่อน โดยวัดผลออกมาเป็นตัวเลขแล้วนำไปคำนวณทางสถิติว่าเป็นตัวเลขที่อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้หรือไม่ ทุกครั้งที่จะคำนวณ ก็ต้องเปิดชีทใหม่แล้ว copy ตารางคำนวณจากชีทเก่ามาแก้ตัวเลขตามการวัดที่เกิดขึ้นใหม่ ดังนั้นถ้าต้องคำนวณกันทุกวัน…
(Download ตัวอย่างได้จาก www.ExcelExpertTraining.com/extreme/files/database/singlemodule.xls) ตัวอย่างนี้เป็นการคำนวณงบกำไรขาดทุนจากตัวอย่างประกอบการอบรมหลักสูตรสุดยอดเคล็ดลับและลัดของ Excel ซึ่งกำหนดให้มีตารางที่ต้องการคำนวณตามยอดขายและต้นทุนที่ต่างกันไปอยู่ 3 case แต่ละ case กำหนดให้แปรเปลี่ยนยอดขายและต้นทุนต่างกันไป ดังนั้นแทนที่จะต้องสร้างตารางคำนวณขึ้น 3 ตารางเพื่อแยกคำนวณแต่ละ case ขอให้ออกแบบตารางในชีทเดียวกันแบ่งเป็น…
ตารางคำนวณแบบ Single Module มีลักษณะตรงกับความหมายของคำว่า Single นั่นคือเป็นตารางคำนวณแบบตารางเดียวหรือตารางเดี่ยว ที่สามารถคำนวณให้ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ครบถ้วนภายในตารางคำนวณตารางเดียว ผู้ใช้ Excel ทั่วไปมักใช้ Excel กันแบบผิดๆ จากความง่ายของการใช้ตารางของ Excel เช่น…
ผู้ที่เคยใช้ Excel สร้างตารางคำนวณงบการเงินมาก่อน ต้องทราบดีว่ากว่าจะคำนวณหายอดกำไรขาดทุนมาได้ต้องคำนวณผ่านยอดรายรับหักต้นทุนขายเป็นกำไรขั้นต้น จากนั้นจึงนำยอดตัวเลขกำไรขั้นต้นไปหักด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆและภาษีเพื่อเป็นยอดกำไรขาดทุน ซึ่งลักษณะของการคำนวณงบการเงินนี่แหละคือลักษณะของตารางคำนวณแบบ Module ในงานด้านวางแผนการผลิตมีลักษณะการใช้ Excel แบบ Module เช่นกัน นับตั้งแต่รับคำสั่งซื้อแล้วต้องนำยอดไปเปรียบเทียบกับสินค้าคงคลังเพื่อคำนวณหายอดวัตถุดิบที่ต้องใช้ตามกำลังการผลิตที่มีอยู่ อีกทั้งต้องกำหนดเวลาให้กับตัวเลขการสั่งผลิตหรือจัดหาวัตถุดิบตามโครงสร้างผลิตภัณฑ์ให้ได้อีกว่า ต้องการใช้ในปริมาณเท่าใดและต้องเริ่มสั่งของเมื่อใดเพื่อให้สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการผลิตแล้วได้สินค้าสำเร็จรูปตามเวลาที่กำหนด…
ตารางคำนวณในภาคแรกเกิดจากการใช้สูตรที่มีโครงสร้างเดียวกันซ้ำในทุกเซลล์ของตารางคำนวณ โดยกำหนดให้หาทางสร้างสูตรขึ้นเพียงสูตรเดียวในเซลล์แรกตรงหัวมุมซ้ายบนสุดของตาราง แล้วจัดการ Copy สูตรไปใช้ทั้งตาราง และจากการที่ใช้สูตรที่มีโครงสร้างเดียวกันไปตลอดนี้ย่อมแสดงว่าเป็นสูตรที่คำนวณหาคำตอบในเรื่องเดียวกัน จากนั้นเราจึงใช้โครงสร้างของตารางเป็นตัวช่วยในการเลือกใช้คำตอบจากตำแหน่งของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับคำตอบ ซึ่งตารางคำนวณแบบแรกนี้ไม่เหมาะกับการคำนวณที่มีความสลับซับซ้อนมากนัก จากนี้จะนำโครงสร้างตารางคำนวณที่มีความซับซ้อนมากขึ้นมาให้ศึกษากันโดยขอเรียกตารางคำนวณแบบนี้ว่า ตารางคำนวณแบบ Module ซึ่งสามารถนำไปใช้งานกันได้ 2 แบบ คือ…
จากสูตร = MAX(0,MIN(F4,D4)-MAX(E4,C4)) ซึ่งใช้คำนวณหาระยะเวลาที่ใช้ในกะซึ่งได้อธิบายที่ไปที่มาของแต่ละส่วนในสูตรแล้วว่าเป็นอย่างไร จากนี้ขอให้คุณคิดต่อไปอีกว่าจะนำสูตรนี้ไปใช้ในการวางแผนโดยจำเป็นต้องนำสูตรนี้ไปใช้ร่วมกับตัวแปรอื่นๆ เช่น ช่วงเวลาของกะอื่นๆ ช่วงเวลาเข้างานในวันอื่นๆหรือเวลาเข้างานของลูกจ้างคนอื่น ตลอดจนหาทางคำนวณค่าแรงที่ต้องจ่ายออกเป็นตัวเงินนั้น ต้องออกแบบตารางคำนวณให้มีหน้าตาอย่างไรดี ตัวอย่างนี้ขอสมมติว่าในกำหนดเวลาทำงานแต่ละวัน ตั้งแต่ 6:00-24:00 น.นั้น ถูกแบ่งออกเป็น…
ทุกวันนี้คุณสามารถค้นหาสูตรคำนวณเพื่อหาคำตอบในปัญหาต่างๆได้โดยตรงจากอินเตอร์เน็ต หรือยกคำถามไปหารือในฟอรัมถามตอบปัญหา Excel ได้ไม่ยาก หลายๆครั้งทีเดียวที่จะได้รับคำตอบเป็นสูตรซ้อนกันยาวเหยียดเป็นหน้า จนอดทึ่งในความสามารถของคนที่สร้างสูตรเหล่านั้นไม่ได้ว่าเขาคิดสูตรกันมาได้อย่างไร หากจะไล่เรียงลำดับความเก่งเกี่ยวกับการใช้ Excel แล้ว การที่เก่งมีความสามารถสร้างสูตรยากๆยาวๆได้ ถือว่าเป็นความเก่งขั้นสูงที่มักเป็นความสามารถเฉพาะตัว ยากที่คนอื่นจะเลียนแบบหรือเข้าใจที่ไปที่มาของสูตรที่นำมาซ้อนกัน เพราะคนเก่งแต่ละคนมักเลือกใช้สูตรที่ตนถนัดแตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็ตาม ในเรื่องสูตรที่ตัวผมเองคิดขึ้นนั้น…
สมมติว่าลูกจ้างคนหนึ่งเข้างานตั้งแต่เวลา 7:00-9:00 น. ให้สร้างตารางคำนวณหาระยะเวลาที่เขาทำงานในกะที่กำหนดซึ่งเริ่มตั้งแต่เวลา 8:00-10:00 น. จากคำถามข้างต้นนี้ คุณคงคิดคำตอบในใจได้ว่าต้องทำงานในกะเป็นเวลา 1 ชั่วโมงใช่ไหม เพราะลูกจ้างคนนี้ออกจากงานเวลา 9:00 น. จึงนับระยะเวลาตั้งแต่เริ่มกะตอน 8:00 น.…
หลังจากที่ได้พิจารณาขอบเขตความต้องการและพอได้เห็นแนวทางสร้างงานที่คนอื่นใช้กันมาก่อนแล้วบ้าง คราวนี้ก็ถึงประเด็นสำคัญว่าพอเปิดโปรแกรม Excel ขึ้นมาแล้ว คุณจะเริ่มต้นออกแบบตารางกันอย่างไรดี ซึ่งลักษณะของตารางคำนวณนี่เองที่จะชี้ให้เห็นฝีไม้ลายมือว่าใครเยี่ยมยุทธ์กว่ากัน ถ้าเทียบกับการสร้างบ้านสักหลังหนึ่งแล้ว ข้อพิจารณาที่ผ่านไปเป็นเพียงแค่การออกแบบคร่าวๆและเตรียมซื้ออุปกรณ์ก่อสร้าง หิน ทราย ปูนซิเมนต์ เตรียมไว้ไม่ให้ขาดไม่ให้เกินกว่าความจำเป็น ขั้นจากนี้เป็นหน้าที่ของสถาปนิกและวิศวกรที่จะต้องลงมือก่อสร้างบ้านของจริงให้สวยหรู ดูดี อยู่สบาย…
สมมติว่าคุณกำลังหาทางคำนวณค่าแรงที่ต้องจ่ายให้ลูกจ้างทำงานในแต่ละกะ จะต้องคิดพิจารณาอะไรบ้าง กำหนดขอบเขตของความต้องการของคุณที่เป็นไปได้ว่ามีอะไรบ้าง เช่นต้องการใช้ตารางในชีทหนึ่งเพื่อคำนวณค่าแรงของพนักงานคนหนึ่งซึ่งทำงานในวันหนึ่ง หรือต้องการใช้ตารางในชีทหนึ่งเพื่อคำนวณค่าแรงของพนักงานคนหนึ่งซึ่งทำงานในเดือนหนึ่งโดยแสดงเป็นรายวันต่อเนื่องกันไป หรือต้องการคำนวณค่าแรงของพนักงานทุกคนในวันหนึ่งๆ หรือต้องการคำนวณค่าแรงให้กับพนักงานทุกคนในเดือนหนึ่งโดยแสดงเป็นรายวันต่อเนื่องกันไป หรือมีความต้องการอื่นๆอีกบ้างไหม ทั้งนี้เพื่อหาทางสร้างตารางคำนวณเพียงตารางเดียวแต่ต้องมีความยืดหยุ่นสามารถนำไปใช้คำนวณได้ทุกกรณีตามที่คุณต้องการ(ทั้งที่เคยต้องการในอดีตและอาจจะมีมากขึ้นในอนาคต) ค้นหาเงื่อนไขทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในการคำนวณ ซึ่งโดยทั่วไปผู้ที่คลุกคลีกับการบริหารการจ้างแรงงานย่อมต้องมีเงื่อนไขที่ตนนำไปใช้ในงานอยู่แล้ว เช่น เงื่อนไขเกี่ยวกับช่วงเวลาหรือกะที่กำหนดให้ทำงานในแต่ละวันแบ่งเป็นกี่ช่วง แต่ละช่วงใช้เวลาทำงานมากน้อยเพียงไร แบ่งเป็นช่วงเวลาหยุดพักกี่ครั้ง…